หน้าเว็บ

วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ความหมายของ M.O.U.

ความหมายของ M.O.U. ประชุมก็หลายครั้ง เรียกก็หลายครั้ง มาดูความหมายของมันจริงๆซักที พูดจนติดปาก จะได้เข้าใจซักที

Memorandum of understandingFrom Wikipedia, the free encyclopediaJump to: navigation, search
It has been suggested that Memorandum of agreement be merged into this article or section. (Discuss) Proposed since February 2011.

A memorandum of understanding (MOU) is a document describing a bilateral or multilateral agreement between parties. It expresses a convergence of will between the parties, indicating an intended common line of action. It is often used in cases where parties either do not imply a legal commitment or in situations where the parties cannot create a legally enforceable agreement. It is a more formal alternative to a gentlemen's agreement.

In some cases depending on the exact wording, MOUs can have the binding power of a contract; as a matter of law, contracts do not need to be labeled as such to be legally binding.[citation needed] Whether or not a document constitutes a binding contract depends only on the presence or absence of well-defined legal elements in the text proper of the document (the so-called "four corners"). This can include express disclaimers of legal effect, or failure of the MOU to fulfill the elements required for a valid contract (such as lack of consideration in common law jurisdictions).

“บันทึกความเข้าใจ” หรือ “เอ็มโอยู” (MOU-Memorandum Of Understan ding) เป็นหนังสือซึ่งฝ่ายหนึ่งแสดงความสมัครใจจะปฏิบัติอย่างหนึ่งอย่างใด และตามเงื่อนไขที่ปรากฏในหนังสือนั้นกับอีกฝ่ายหนึ่ง

โดยที่หนังสือนี้ไม่ถือว่าเป็นสัญญาผูกมัด แต่แสดงความต้องการอันแน่วแน่ของผู้ลงนามว่าจะปฏิบัติดังที่ได้ระบุไว้ เช่น สถาบันแห่งหนึ่งในประเทศไทย ทำบันทึกความเข้าใจกับสถาบันในต่างประเทศ เพื่อความร่วมมือ

ในทางการทูตบันทึกความเข้าใจ หรือ “เอ็มโอยู” เป็นส่วนหนึ่งของ “สนธิสัญญา” (treaty) ซึ่ง “สนธิสัญญา” เป็นคำที่มีความหมายทั่วไป โดยอาจมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไป อาทิ “ความตกลง” (agreement) “ข้อตกลง” (arrangement) “บันทึกความเข้าใจ” (memorandum of understanding) “บันทึกความตกลง” (me morandum of agreement) “พิธีสาร” (protocol) “อนุสัญญา” (Convention) ฯลฯ อย่างไรก็ดี ตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ ไม่ว่าจะเรียกชื่ออย่างไรก็ตาม หากเข้าหลักเกณฑ์ตามกฎหมาย ถือเป็น “สนธิสัญญา” ทั้งสิ้น.

ที่มา : http://www.dailynews.co.th

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น